หนังสือ "ทิ้ง 1 ให้ได้ 100 ทิ้งน้อยให้ได้มาก" (千円札は拾うな。)
ผู้เขียน : โยะชิโอะ ยะซุดะ (安田佳生)
ผมเชื่อว่าหลายต่อหลายคนพอได้อ่านเรื่องย่อที่ปกหลังแล้วอาจจะคิดอยู่ในใจว่า "มันจะเป็นไปได้ยังไง?!" ผมเองก็ทบความสงสัยในใจไม่ไหว ก็เลยต้องหยิบหนังสือเล่มนี้ขึ้นมาอ่านครับ555
หนังสือเล่มนี้ได้มอบแนวถึงใหม่ ๆ มากมายให้แก่ผม (ส่วนใหญ่จะเป็นแนวคิดเชิงธุรกิจ) บางทีแนวคิดเหล่านั้นอาจขัดแย้งกับสามัญสำนักของเรา ๆ อยู่บ้าง ขอให้ทุกคนลองเปิดใจ แล้วคุณอาจจะทึ่งกับแนวคิดของผู้เขียนท่านนี้ก็ได้ครับ โดยรวมแล้ว ผมได้ข้อคิดและคำคมดี ๆ มากมายจากหนังสือเล่ม (ถ้าไม่เชื่อก็ลองดูด้านล่าง) หนังสือเล่มนี้ให้อะไร ๆ มากกว่าที่ผมคาดหวังในตอนแรกไว้เยอะครับ ถ้าอยากเปิดมุมมองก็แนะนำให้อ่านครับ
ผมเชื่อว่าหลายต่อหลายคนพอได้อ่านเรื่องย่อที่ปกหลังแล้วอาจจะคิดอยู่ในใจว่า "มันจะเป็นไปได้ยังไง?!" ผมเองก็ทบความสงสัยในใจไม่ไหว ก็เลยต้องหยิบหนังสือเล่มนี้ขึ้นมาอ่านครับ555
หนังสือเล่มนี้ได้มอบแนวถึงใหม่ ๆ มากมายให้แก่ผม (ส่วนใหญ่จะเป็นแนวคิดเชิงธุรกิจ) บางทีแนวคิดเหล่านั้นอาจขัดแย้งกับสามัญสำนักของเรา ๆ อยู่บ้าง ขอให้ทุกคนลองเปิดใจ แล้วคุณอาจจะทึ่งกับแนวคิดของผู้เขียนท่านนี้ก็ได้ครับ โดยรวมแล้ว ผมได้ข้อคิดและคำคมดี ๆ มากมายจากหนังสือเล่ม (ถ้าไม่เชื่อก็ลองดูด้านล่าง) หนังสือเล่มนี้ให้อะไร ๆ มากกว่าที่ผมคาดหวังในตอนแรกไว้เยอะครับ ถ้าอยากเปิดมุมมองก็แนะนำให้อ่านครับ
คำคมจากหนังสือ "ทิ้ง 1 ให้ได้ 100 ทิ้งน้อยให้ได้มาก"
คุณจะสามารถพัฒนาตัวเองไปได้ไกลแค่ไหน
ขึ้นอยู่กับว่าคุณตระหนักว่าตัวเองต่ำต้อยมากแค่ไหน
เมื่อเทียบตัวตนในตอนนี้กับตัวตนในอุดมคติที่คิดไว้
- หน้า 35 -
การเติบโตหมายถึง
"ความกล้าหาญในการทิ้งตัวตนเดิมของเรา"
- หน้า 36 -
คนที่เติบโตไม่ใช่คนที่เลือกปีนบันไดได้ถูก
แต่คือคนที่กล้ากระโดดลงจากบันไดที่กำลังปีนอยู่โดยไม่ลังเล
เมื่อรู้ตัวว่าเลือกบันไดที่ผิด
- หน้า 37 -
ตั้งเป้าหมายให้สูงเข้าไว้
โดยไม่ต้องคำนึงถึงข้อจำกัดใด ๆ ทั้งสิ้น
- หน้า 44 -
ถ้าอยากใช้ชีวิตตามแบบที่ตัวเองพอใจได้อย่างสมเหตุสมผล
สิ่งที่จำเป็นคืออย่าให้สามัญสำนึกหรือมาตรฐานของคนอื่นและสังคม
มาทำให้ "หลัก" ของตัวเองสั่นคลอน
- หน้า 95 -
เรากำลังเข้าสู่ยุคสมัยของการแสวงหา
"คุณภาพและความสุนทรีย์"
ไม่ใช่ "จำนวนและปริมาณ"
- หน้า 98 -
การใช้เงินนั้นมี "วิธีใช้อย่างเก่งกาจ"
แต่ไม่มี "วิธีใช้อย่างถูกต้อง"
- หน้า 101 -
คนที่ดำเนินชีวิตอย่างพรั่งพร้อมบริบูรณ์จริง ๆ
ไม่ใช่คนที่มียอดเงินในบัญชีเงินฝากสูง ๆ
แต่คือคนที่มีกระแสเงินหมุนเวียนมาก
ซึ่งก็คือคนที่ใช้สิทธิที่ตัวเองมีอย่างเต็มที่ต่างหาก
- หน้า 102 -
ถ้าเราเปรียบว่าเงินเป็นเครื่องมือ
ก็แปลว่าเงินที่ไม่ได้ใช้นั้นไม่มีค่า
ดังนั้น ชีวิตของคุณจะพรั่งพร้อมบริบูรณ์ยิ่งขึ้นได้
ก็ต่อเมื่อคุณนำเงินที่เก็บสะสมไว้ตอนนี้มาลงทุนให้กับตัวเอง
- หน้า 103 -
ยิ่งเรายึดติดกับสิ่งต่าง ๆ น้อยลงเท่าไหร่
ก็จะยิ่งใช้ชีวิตได้ง่ายขึ้นเท่านั้น
- หน้า 112 -
ผู้ที่ทำสิ่งที่คนอื่นไม่ทำ
ย่อมได้รับชัยชนะ
- หน้า 138 -
ขึ้นอยู่กับว่าคุณตระหนักว่าตัวเองต่ำต้อยมากแค่ไหน
เมื่อเทียบตัวตนในตอนนี้กับตัวตนในอุดมคติที่คิดไว้
- หน้า 35 -
การเติบโตหมายถึง
"ความกล้าหาญในการทิ้งตัวตนเดิมของเรา"
- หน้า 36 -
คนที่เติบโตไม่ใช่คนที่เลือกปีนบันไดได้ถูก
แต่คือคนที่กล้ากระโดดลงจากบันไดที่กำลังปีนอยู่โดยไม่ลังเล
เมื่อรู้ตัวว่าเลือกบันไดที่ผิด
- หน้า 37 -
ตั้งเป้าหมายให้สูงเข้าไว้
โดยไม่ต้องคำนึงถึงข้อจำกัดใด ๆ ทั้งสิ้น
- หน้า 44 -
ถ้าอยากใช้ชีวิตตามแบบที่ตัวเองพอใจได้อย่างสมเหตุสมผล
สิ่งที่จำเป็นคืออย่าให้สามัญสำนึกหรือมาตรฐานของคนอื่นและสังคม
มาทำให้ "หลัก" ของตัวเองสั่นคลอน
- หน้า 95 -
เรากำลังเข้าสู่ยุคสมัยของการแสวงหา
"คุณภาพและความสุนทรีย์"
ไม่ใช่ "จำนวนและปริมาณ"
- หน้า 98 -
การใช้เงินนั้นมี "วิธีใช้อย่างเก่งกาจ"
แต่ไม่มี "วิธีใช้อย่างถูกต้อง"
- หน้า 101 -
คนที่ดำเนินชีวิตอย่างพรั่งพร้อมบริบูรณ์จริง ๆ
ไม่ใช่คนที่มียอดเงินในบัญชีเงินฝากสูง ๆ
แต่คือคนที่มีกระแสเงินหมุนเวียนมาก
ซึ่งก็คือคนที่ใช้สิทธิที่ตัวเองมีอย่างเต็มที่ต่างหาก
- หน้า 102 -
ถ้าเราเปรียบว่าเงินเป็นเครื่องมือ
ก็แปลว่าเงินที่ไม่ได้ใช้นั้นไม่มีค่า
ดังนั้น ชีวิตของคุณจะพรั่งพร้อมบริบูรณ์ยิ่งขึ้นได้
ก็ต่อเมื่อคุณนำเงินที่เก็บสะสมไว้ตอนนี้มาลงทุนให้กับตัวเอง
- หน้า 103 -
ยิ่งเรายึดติดกับสิ่งต่าง ๆ น้อยลงเท่าไหร่
ก็จะยิ่งใช้ชีวิตได้ง่ายขึ้นเท่านั้น
- หน้า 112 -
ผู้ที่ทำสิ่งที่คนอื่นไม่ทำ
ย่อมได้รับชัยชนะ
- หน้า 138 -
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น